ข่าวรอบรั้วภูธร ข่าวศรีสะเกษ ข่าวเด่น

ผู้ว่าศรีสะเกษ ประกาศแนวทางการขับเคลื่อน งานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

23 กรกฏาคม 2567 ที่ ห้องประชุมศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษ นายอนุพงศ์ สุขสมนิตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ  เป็นประธานประชุมคณะกรมการจังหวัดศรีสะเกษ โดยมีนายนพ พงศ์ผลาดิสัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ นายธาตรี สิริรุ่งวนิช ปลัดจังหวัดศรีสะเกษ พล.ต.ต.พิษณุ วัตถุ ผบก.ภ.จว.ศรีสะเกษ, และนพ.ทนง วีระแสงพงษ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ นำหัวหน้าส่วนราชการจังหวัดศรีสะเกษและเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดศรีสะเกษ เข้าร่วมรับมอบนโยบายแนวทางการขับคลื่อนงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายายาพติดในระยะเร่งด่วน และร่วมในพิธีลงนามว่าด้วยความร่วมมือในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในจังหวัดศรีสะเกษ ตามรัฐบาลกำหนดให้การแก้ไขปัญหายาเสพลิดเป็นวาระแห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐ ภาคประชาชน และภาคเอกชน ต้องบูรณาการการดำเนินงานในการปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจังและเด็ดขาดให้เห็นผลเป็นรูปธรรม จึงกำหนดปฏิบัติการลคความรุนแรงของปัญหายาเสพติดในระยะ 1 ปี โดยใช้กลยุทธ์ “ปลุก เปลี่ยน ปราบ”เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา ดังนี้ ปลุก คือ การปลุกชุมชนให้เข้มแข็ง ลุกขึ้นมาต่อสู้กับปัญหา ยาเสพคิดร่วมกับภาครัฐ ป้องกันตั้งแต่ระคับเขาวชน ผ่านหลักสูตรในสถาบันการศึกษา เปลี่ยน คือ เปลี่ยนผู้เสพเป็นผู้ป่วย ทำการ X-รay ชุมชนแล้วนำ ผู้เสพเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ และฝึกอาชีพ ปราบ คือ การปราบปรามนักค้ายาเสพติด สกัดกัน ควบคุมการลักลอบนำเข้ายาเสพติด และใช้มาตรการ “ยึด อายัดทรัพย์สิน”เพื่อตัดวงจรการค้ายาเสพติด ความสูญเสียที่เคยเกิดขึ้น ในอดีตที่ผ่านมาต่อไป


นายอนุพงศ์ สุขสมนิตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ กล่าวว่า จากปัญหายาเสพติด ได้ส่งผลกระทบต่อสังคมทั้งในเรื่องชีวิตและทรัพย์สินในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2567 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ ตามที่นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ได้นำเสนอว่าในปัจจุบันยาเสพติดยังเป็นปัญหาสำคัญที่เป็นภัยคุกคามความสงบสุขและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน จึงกำชับให้หน่วยงานของรัฐ และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องบูรณาการปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจังและเด็ดขาด ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายสำคัญของนายอนุหิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระพรวงมหาดไทย ที่ใต้สั่งการให้กระทรวงมหาดไทย เร่งบูรณาการหน่วยงานในระดับพื้นที่และผู้นำท้องที่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน Re X-ray แก้ไขปัญหายาเสพติดเชิงรุกและกำหนดตัวชี้วัดการดำเนินงานที่ชัดเจน ภายใต้กลไกของผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอ เพื่อให้การดำเนินการเชิงรุกเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี และข้อสั่งการของรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จึงสั่งการให้กรมการปกครองปรับปรุงแนวทางให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน พร้อมทั้งกำชับให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัดในฐานะผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัด(ศอ.ปส.จ.) และนายอำเภอในฐานะผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอ ดำเนินการบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในระยะเร่งด่วนในเดือนกรกฎาคม – กันยายน 2567 ตามมาตรการ & ข้อ ได้แก่1. มาตรการค้นหาผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด และผู้ค้ายาเสพคิด(Re X-ray) ด้วยการทบพวนบัญชีรายชื่อผู้กระทำความผิดของอำเภอที่จัดทำไว้แล้ว พร้อมค้นหาผู้ป่วยจิตเวชฯ ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพคิด และผู้ด้านยาเสพคิดเพิ่มเติม ควบคู่กับการประสานขอข้อมูลผู้ต้องขังคลี่ยาเสพคิดทุกประเภทในระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา จากเรือนจำและสถานีตำรวจในพื้นที่ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลและประวัติผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดโดย “ข้อมูลผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด” ใช้สำหรับติดตามให้ความช่วยเหลือและในส่วน “ข้อมูลผู้ค้ายาเสพติด” ใช้สำหรับบัญชีเฝ้าระวังและควบคุมพฤติกรรม มาตรการประชาสัมพันธ์และสร้างการมีส่วนร่วม ด้วยการบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่ายทำการประชาสัมพันธ์ และสร้างการรับรู้ถึงนไอบายการแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ให้เข้าถึงประชาชนทุกเทศทุกวัย และติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ รณรงค์ต่อต้านยาเสพคิดและเผขแพร่องค์ความรู้โทษภัยต่างๆ และช่องทางการแจ้งเบาะแสที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ง่ายทุกช่องทาง ณ ศาลากลางจังหวัดที่ว่าการอำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ สถานที่อื่นๆ

และให้มีการจัดแถลงข่าว/ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลการปฏิบัติงานให้ประชาชนได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง การเสริมกำลังป้องกัน ด้วยการขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้านตามแนวทางโครงการ “หมู่บ้านยั้งขึ้น (Sustainable Village)”เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความรัก ความสามัคคีของประชาชนในหมู่บ้าน อันนำไปสู่การช่วยเหลือ ดูแลซึ่งกันและกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด พร้อมทั้งส่งเสริมให้ความรู้แก่เด็กและเขาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษา ให้มีความรู้เท่าทันกับปัญหายาเสพติด เสริมสร้างทักษะการบริหารจัดการชีวิต คุณธรรมจริยธรรม รวมถึงหน้าที่พลเมือง และสนับสนุนกิจกรรมในโรงงาน/สถานประกอบการ เพื่อส่งเสริมให้ลูกจ้างมีคุณภาพชีวิตที่ดีรวมถึงสร้างความร่วมมือและเครือข่ายการป้องกันยาเสพติดในกลุ่มแรงงาน สถานประกอบการ และนายจ้างของกิจการทุกประเภทรวมไปถึง “การปฏิบัติการกวาดบ้านตัวเอง” โดยสุ่มตรวจคัดกรองสารเสพติดในปัสสาวะ ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชน พระสงฆ์/นักบวช ฯลฯ มาตรการปราบปราม ด้วยการบูรณาการหน่วยงานความมั่นคงในพื้นที่ ร่วมกับ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชมชน จัดประชุมโต๊ะข่าวทุกสัปดาห์ เพื่อสืบสวนหาข่าว ปิดล้อมตรวจคั้นผู้ค้าธาเสพติดรายย่อยในระดับพื้นที่ตามบัญชี Re X-ray ทุกสัปดาห์ และเร่งสืบสวน รวบรามพยานหลักฐาน ขยายผลการจับกุมผู้ค้ารายย่อยไปสู่การจับกุมผู้ค้ารายใหญ่ รวมถึงการยึด/อายัดทรัพย์สิน เพื่อตัดวงจรยาเสพติด พร้อมตั้งจุดครวจ/จุดสกัดบริเวณพื้นที่บ้านพักอาศัยของผู้ล้ำยาเสพติดตามบัญชี Re X-ray อย่างต่อเนื่อง เพื่อกดดันและจำกัดเสรีภาพผู้ค้ายาเสพติด มาตรการบำบัดรักษา ด้วยการค้นหา และคัดกรอง/จำแนกผู้เสพผู้ติดยาเสพติด และส่งต่อเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลตามสภาพอาการ/ความรุนแรงของการเสพยาเสพติด หากเป็นผู้ติดยาเสพติดที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรงให้รีบส่งตัวไปสถานพยาบาล เป็นลำดับแรกก่อน และร่วมมือกับหน่วยงานราชการ กำนัน ผู้ใหญ่บ้านวัด/องค์กรทางศาสนา และภาคีเครือข่ายในพื้นพื้นที่ จัดตั้งสถานที่ทำการฟื้นฟู/พักคอย สำหรับผู้ป่วยชาเสพคิดที่รอเข้ารับการบำบัดฯ ถือฝ่ามการบำบัดฯ แล้ว แต่ครอบครัว/ชุมชนอังไม่มีความพร้อมในการดูแลช่วยเหลือ เพื่อพักคอยในระชะเวลาหนึ่ง โดยสถานที่ดังกล่าวจะต้องรองรับผู้ติดยาเสพติดได้ตลอดเวลา มาตรการฟื้นฟูสภาพทางสังคม โดยให้ศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคมทุกระดับ ติดตาม เชื่อมเขียนให้กำลังไขอย่างต่อเนื่อง และดูแลช่วยหลือสงเคราะห์ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดให้มีอาชีพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นรวมทั้งจัดทำข้อมูล ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพคิดของแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชมเพื่อมอบหมายผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชน หัวหน้าคุ้มบ้าน/หย่อมบ้าน ป็อกบ้านจัดทำระบบกลไกการติดตามผู้ติดยาเสพคิดให้เข้ารับการบำบัดรักษาตามกำหนดนัดแพทย์และรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง การติดตามและประเมินผล

โดยกรมการปกครองกำหนดการติดตาม และประเมินผลตามตัวชี้วัดที่กำหนดทุกมาตรการ/แนวทางเพื่อติดตามความก้าวหน้า ปัญหา และอุปสรรค การยกช่องเชิดชูเกียรติ โดยกรมการปกครอง พิจารณาผลการปฏิบัติงานในระดับจังหวัด ตามขนาดเขตการปกครองของจังหวัดขนาด S M L และให้จังหวัดพิจารณาคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานดีเด่นและจัดพิธีมอบรางวัลในระดับอำเภอ ตำบล หมู่บ้าน/คุ้ม/คุ้มบ้าน)เทสติดในปัสสาวะ ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง เจ้าหน้าที่ของรัฐส้นำหมู่บ้าน/ชุมชน พระสงฆ์/นักบวช ฯลฯ มาตรการปราบปราม ด้วยการบูรณาการหน่วยงานความมันคงในพื้นที่ ร่วมกับ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชมชน จัดประชุมโต๊ะข่าวทุกสัปดาห์ เพื่อสืบสวนหาข่าว ปิดล้อมตรวจค้นผู้ด้ายาเสพดิตราอย่อยในระดับพื้นที่ตามบัญชี Re X-ray ทุกสัปดาห์ และเร่งสืบสวน รวบรวบรวมพยานหลักฐาน ขยายผลการจับกุมผู้ค้ารายย่อยไปสู่การจับกุมผู้ค้ารายใหญ่ รวมถึงการยึด/อายัดทรัพย์สิน เพื่อตัดวงจรยาเสพติดพร้อมตั้งจุดตราจ/จุดสกัดบริเวณพื้นที่บ้านพักอาศัยของผู้ตัวยาเสพคิดตามบัญชี Re X-ray อย่างต่อเนื่อง เพื่อกดดันและจำกัดสภาพผู้ค้ายาเสพติด มาตรการบำบัดรักษา ด้วยการค้นหา และคัดกรอง/จำแนกผู้เสพผู้ติดยาเสพติด และส่งต่อเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลตามสภาพอาการ/ความรุนแรงของการเสพยาเสพติด หากเป็นผู้ติดยาเสพติดที่มีความเสียงสูงต่อการก่อความรุนแรงให้รีบส่งตัวไปสถานพยาบาลเป็นลำดับแรกก่อน และร่วมมือกับกับหน่วยงานราชการ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน วัด/องค์กรทางศาสนา และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ จัดตั้งสถานที่ทำการฟื้นฟู/เผยแพร่องค์ความรู้โทษภัยต่างๆ และช่องทางการแจ้งแบบที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ง่ายทุกช่องทาง ณ ศาลากลางจังหวัดที่ว่าการอำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ สถานที่อื่นๆ และให้มีการจัดแถลงข่าว/ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลการปฏิบัติงานให้ประชาชนได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง การเสริมกำลังป้องกัน ด้วยการขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้านตามแนวทางโครงการ “หมู่บ้านยั่งยืน (Sustainable Village) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความรัก ความสามัคดีของประชาชนในหมู่บ้าน อันนำไปสู่การช่วยเหลือ ดูแลซึ่งกันและกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพดิด

ส่งเสริมให้ความรู้แก่เด็กและเขาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษา ให้มีความรู้เท่าทันกับปัญหายาเสพติด เสริมสร้างทักษะการบริหารจัดการชีวิต คุณธรรมจริยธรรม รวมถึงหน้าที่พลเมือง และสนับสนุนกิจกรรมในโรงงานสถานประกอบการ เพื่อส่งเสริมให้ลูกจ้างมีคุณภาพชีวิตที่ดีรวมถึงสร้างความร่วมมือและเครือข่ายการป้องกันยาเสพติดในกลุ่มแรงงาน สถานประกอบการ และนายจ้างของกิจการทุกประเภทรวมไปถึง “การปฏิบัติการกวาดบ้านตัวเอง” โดยสุ่มตรวจคัดกรอง สำหรับผู้ป่วยขาเสพคิดที่รอเข้ารับการบำบัดฯละนายอำเภอในฐานะผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอ ดำเนินการบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในระยะเร่งด่วนในเดือนกรกฎาคม – กันยายน 2567ตามมาตรการ 2 ข้อ ได้แก่ มาตรการค้นหาผู้เสพ ผู้คิดยาเสพคิด และผู้ค้ายาเสพคิด(Re X-ray) ด้วยการทบทวนบัญชีรายชื่อผู้กระทำความผิดของอำเภอที่จัดทำไว้แล้ว พร้อมค้นหาผู้ป่วยจิตเวชฯ ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด และผู้ค้ายาเสพติดเพิ่มเติม ควบคู่กับการประสานขอข้อมูลผู้ต้องขังคดียาเสพติดทุกประเภทในระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา จากเรือนจำและสถานีตำรวจในพื้นที่ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลและประวัติผู้เกี่ยวข้องกับชาเสพติดโดย “ข้อมูลผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด” ใช้สำหรับติดตามให้ความช่วยเหลือและในส่วน “ข้อมูลผู้ค้ายาเสพติด” ใช้สำหรับบัญชีเฝ้าระวังและควบคุบคุมพฤติกรรม มาตรการประชาสัมพันธ์และสร้างการมีส่วนร่วม ด้วยการบูรณาการร่วมกับกาลีเครือข่ายทำการประชาสัมพันพันธ์ และสร้างการรับรู้ถึงนโยบายการแก้ไขปัญหาธาเสพติดในพื้นที่ให้เข้าถึงประชาชนทุกเทศทุกวัย และคิดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ รณรงค์ต่อล้านยาเสพติดด้วย

บุญทัน ธุศรีวรรณ รายงาน